สนับสนุนโดย สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม Supported by Office of Contemporary Art And Culture ,Ministry Of Culture

หน้าแรก
ข่าว
วิจารณ์
สัมภาษณ์
บทความพิเศษ
รายงานหนังไทยในเทศกาลหนังต่างๆ
รายชื่อหนังสือและบทความเกี่ยวกับหนังไทย
รายชื่อ ที่อยู่ หน่วยงาน
 
รายชื่อหนังเก่า
 
 
 
 

   
65 ประเทศที่ส่งหนังเข้าประกวดออสการ์
  18 ตุลาคม 2553
   
 

สีขาว คือ หนังที่ได้รับรางวัลหรือเข้าประะกวดเทศกาลใหญ่ ๆ อย่างคานส์

อัลเบเนีย, “East, West, East” Gjergj Xhuvani
อัลจีเรีย, “Hors la Loi” (“Outside the Law”), Rachid Bouchareb ประกวดสายเดียวกับลุงบุญมีระลึกชาติที่คานส์
อาร์เจนติน่า, “Carancho” Pablo Trapero
ออสเตรีย, “La Pivellina” Tizza Covi and Rainer Frimmel
อาร์เซอร์ไบจัน, “The Precinct” Ilgar Safat
บังคลาเทศ, “Third Person Singular Number” Mostofa Sarwar Farooki
เบลเยี่ยม, “Illegal” Olivier Masset-Depasse
บอสเนียและเฮอร์เซโกวินา, “Circus Columbia” Danis Tanovic
บราซิล, “Lula, the Son of Brazil” Fabio Barreto
บัลเกเรีย, “Eastern Plays” Kamen Kalev
แคนาดา, “Incendies” Denis Villeneuve
ชิลี, “The Life of Fish” Matias Bize
จีน, “Aftershock” Feng Xiaogang
โคลอมเบีย, “Crab Trap” Oscar Ruiz Navia
คอสตาริก้า, “Of Love and Other Demons” Hilda Hidalgo
โครเอเชีย, “The Blacks” Goran Devic and Zvonimir Juric
สาธารณรัฐเช็ค, “Kawasaki’s Rose” Jan Hrebejk
เดนมาร์ค, “In a Better World” Susanne Bier
อียิปต์, “Messages from the Sea” Daoud Abdel Sayed
เอสโตเนีย, “The Temptation of St. Tony” Veiko Ounpuu
เอธิโอเปีย, “The Athlete” Davey Frankel and Rasselas Lakew
ฟินแลนด์, “Steam of Life” Joonas Berghall and Mika Hotakainen
ฝรั่งเศส, “Of Gods and Men” Xavier Beauvois ได้รับรางวัลกรังค์ปรีซ์ที่เทศกาลหนังเมืองคานส์

จอร์เจีย, “Street Days” Levan Koguashvili
เยอรมนี, “When We Leave” Feo Aladag
กรีซ, “Dogtooth” Yorgos Lanthimos
กรีนแลนด์, “Nuummioq” Otto Rosing and Torben Bech
ฮ่องกง, “Echoes of the Rainbow” Alex Law
ฮังการี, “Bibliotheque Pascal” Szabolcs Hajdu
ไอซ์แลนด์, “Mamma Gogo” Fridrik Thor Fridriksson
อินเดีย, “Peepli [Live]” Anusha Rizvi
อินโดนีเซีย, “How Funny (Our Country Is)" Deddy Mizwar
อิหร่าน, “Farewell Baghdad” Mehdi Naderi
อิรัก, “Son of Babylon” Mohamed Al-Daradji
อิสราเอล, “The Human Resources Manager” Eran Riklis
อิตาลี, “La Prima Cosa Bella” (“The First Beautiful Thing”), Paolo Virzi
ญี่ปุ่น, “Confessions” Tetsuya Nakashima
คาซัคสถาน, “Strayed” Akan Satayev
เกาหลีใต้, “A Barefoot Dream” Tae-kyun Kim
เคอร์จีกิสถาน, “The Light Thief” Aktan Arym Kubat
แลตเวีย, “Hong Kong Confidential” Maris Martinsons
มาเซโดเนีย, “Mothers” Milcho Manchevski
เม็กซิโก, “Biutiful” Alejandro Gonzalez Inarritu ได้รังรางวัลนักแสดงชายยอดเยี่ยมที่คานส์
เนเธอร์แลนด์, “Tirza” Rudolf van den Berg
นิคารากัว, “La Yuma” Florence Jaugey
นอร์เวย์, “The Angel” Margreth Olin
เปรู, “Undertow” (“Contracorriente”), Javier Fuentes-Leon
ฟิลิปปินส์, “Noy” Dondon S. Santos and Rodel Nacianceno
โปแลนด์, “All That I Love” Jacek Borcuch
โปรตุเกส, “To Die Like a Man” Joao Pedro Rodrigues
เปอร์โตริโก, “Miente” (“Lie”), Rafael Mercado
โรมาเนีย, “If I Want to Whistle, I Whistle” Florin Serban
รัสเซีย, “The Edge” Alexey Uchitel
เซอร์เบีย, “Besa” Srdjan Karanovic
สโลวาเกีย, “Hranica” (“The Border”), Jaroslav Vojtek
สโลเวเนีย, “9:06” Igor Sterk
แอฟริกาใต้, “Life, above All” Oliver Schmitz
สเปน, “Tambien la Lluvia” (“Even the Rain”), Iciar Bollain
สวีเดน, “Simple Simon” Andreas Ohman
สวิตเซอร์แลนด์, “La Petite Chambre,” Stephanie Chuat and Veronique Reymond
ไต้หวัน, “Monga” Chen-zer Niu
ไทย, "ลุงบุญมีระลึกชาติ" อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล

ตุรกี, “Bal” (“Honey”), Semih Kaplanoglu
อุรุกวัย, “La Vida Util” Federico Veiroj
เวเนซูเอลา, “Hermano” Marcel Rasquin

อ้างอิงจาก มติชน

   
ลุงบุญมีระลึกชาติ เป็นตัวแทนไทยชิงออสการ์
  อัญชลี ชัยวรพร / 8 กันยายน 2553
  LINK : รวมเมนูลุงบุญมี
 
Share |
Print 
     
 

 

สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติตัดสินใจส่ง ลุงบุญมีระลึกชาติ เป็นตัวแทนประเทศไทยเพื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ประจำปี 2010

จากการเปิดเผยของนายนคร วีระประวัติ ประธานคณะกรรมการฝ่ายสรรหาภาพยนตร์เพื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์สาขา "ภาพยนตร์ต่างประเทศยอดเยี่ยม" กล่าวว่า คณะกรรมการประกอบด้วยตัวแทนต่าง ๆ 9 ท่าน ตัดสินใจเลือกภาพยนตร์เรื่อง "ลุงบุญมีระลึกชาติ" ของนายอภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล เป็นตัวแทนประเทศไทยประจำปีนี้

คณะกรรมการทั้ง 9 ท่านประกอบด้วยตัวแทนจากสมาััพันธ์ฯ  ผู้กำกับ (นายปรัชญา ปิ่นแก้ว)  นักวิจารณ์ (นคร วีรประวัติ)  นักแสดง (ยอดชาย เมฆสุวรรณ) ผู้จัดจำหน่าย  โรงภาพยนตร์ และเลขาสมาัพันธ์ฯ

คณะกรรมการไม่มีข้อโต้แย้งใด ๆ ในการส่ง ลุงบุญมีระลึกชาติ เป็นตัวแทนประเทศไทย แต่เกรงว่ารางวัลปาล์มทองคำจากเทศกาลหนังเมืองคานส์แล้ว อาจจะเป็นอุปสรรคต่อการพิจารณาของคณะกรรมการรางวัลออสการ์  แต่นายนครได้แจ้งให้คณะกรรมการทราบว่า ไม่มีึปัญหาอะไร เพราะหนังที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงสาขาหนังต่างประเทศยอดเยี่ยมเมื่อปีที่แล้ว ก็มีหนังรางวัลจากคานส์เช่นกัน

นายนครกล่าวต่อว่า ได้แจ้งให้กับอภิชาติพงศ์ทราบแล้ว ซึ่งตอนนั้นกำลังเดินทางไปโปรโมทหนังที่ปารีส  อภิชาติพงศ์้แสดงความยินดีที่ได้รับเกียรติครั้งนี้  และจะส่งก็อปปี้หนังให้กับทางผู้จัดรางวัลออสการ์ในที่สุด

ขณะนี้ ลุงบุญมีระลึกชาติ ยังไม่ได้ฉายในสหรัฐอเมริกา ยกเว้นตามเทศกาลหนังต่าง ๆ โดยจะเริ่มจากนิวยอร์ค แอตแลนต้า โคโลราโด และชิคาโก้  บริษัทตัวแทนที่ซื้อภาพยนตร์เรื่องนี้ไป Strand Releasing วางแผนจะฉายหนังราวเดือนมีนาคมปีหน้า   

 

Thailand picks Uncle Boonmee Who Can Recall His Past Lives for Oscar Race

 

   

Everything you want to know about Thai film, Thai cinema
edited by Anchalee Chaiworaporn อัญชลี ชัยวรพร   designed by Nat  
COPYRIGHT 2004 http://www.thaicinema.org. All Rights Reserved. contact: ancha999 at gmail.com
By accessing and browsing the Site, you accept, without limitation or qualification, these copyrights.
If you do not agree to these copyrights, please do not use the Site.